ค้นหางานศิลปกรรม

ฐานข้อมูลศิลปกรรมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

 
 
 
 
 
 
 

พระพุทธรูปที่วัดศรีบุญเรือง

คำสำคัญ : พระพุทธรูป, พระพุทธเจ้า, ศิลปะลาว

ชื่อเรียกอื่น-
ชื่อหลักวัดแสน
ชื่ออื่น-
ประเภทงานศิลปะประติมากรรม
ที่อยู่-
จังหวัด/เมืองหลวงพระบาง
รัฐ/แขวงหลวงพระบาง
ประเทศลาว
พิกัดภูมิศาสตร์
ค่าองศาทศนิยม
Lat : 19.896111
Long : 102.142778

ประวัติการสร้าง-
ลักษณะทางศิลปกรรมพระพุทธรูปในศิลปะล้านช้างระยะหลัง อิทธิพลของศิลปะสุโขทัย ล้านนาได้คลี่คลายเป็นพื้นเมืองล้านช้างมากขึ้น รัศมีเป็นเปลวไฟตามแบบสุโขทัยยังคงปรากฏอยู่ แต่เม็ดพระศกกลับเล็กลงและแหลมคม มีไรพระศก เครื่องประกอบพระพักตร์ เช่น พระเนตร มีความเป็นพื้นเมืองมากขึ้น เช่น ดูชี้ขึ้น พระนาสิกใหญ่ ไม่ได้อ่อนหวานเท่าพระพักตร์แบบสุโขทัย
สกุลช่างหลวงพระบาง
ยุคประวัติศาสตร์
สมัย/รูปแบบศิลปะล้านช้าง
อายุพุทธศตวรรษที่ 23-24
ศาสนาพุทธ
ลัทธิ/นิกายเถรวาท
ศาสนา/ความเชื่อที่เกี่ยวข้องพระพุทธรูปองค์นี้แสดงปางทิ้งพระหัตถ์ทั้งสองข้างลงด้านล่าง อันหมายถึงปางเปิดโลก เมื่อตอนเสด็จลงจากดาวดึงส์ มีความเชื่อในพุทธศาสนาเถรวาท ว่าพระพุทธองค์ได้เปิดให้โลกทั้งสาม คือ สวรรค์ มนุษย์และนรกเห็นไปได้ทั่วถึงกันโดยเรียกว่า “ตอนเปิดโลก” ปางเปิดโลกนี้ปรากฏบ่อยๆทั้งในศิลปะล้านาและล้านช้าง
งานศิลปะที่เกี่ยวข้อง-

รูปแบบลิขสิทธิ์Attribution-NonCommercial-NoDerivs (CC BY-NC-ND)
เจ้าของสิทธิ์ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
วันที่จัดทำข้อมูล2015-07-00
ผู้จัดทำข้อมูลเชษฐ์ ติงสัญชลี