ค้นหางานศิลปกรรม
ฐานข้อมูลศิลปกรรมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ฐานขั้นบันไดที่ปุระเกห็น
คำสำคัญ : โคปุระ, ปุระเกเห็น
ชื่อหลัก | ปุระเกเห็น |
---|---|
ประเภทงานศิลปะ | สถาปัตยกรรม |
ที่อยู่ | - |
จังหวัด/เมือง | บังลี |
รัฐ/แขวง | บาหลี |
ประเทศ | อินโดนีเซีย |
พิกัดภูมิศาสตร์ ค่าองศาทศนิยม | Lat : -8.4418702 Long : 115.3598612 |
ประวัติการสร้าง | - |
---|---|
ลักษณะทางศิลปกรรม | เทวาลัยในศิลปะบาหลี ย่อมแบ่งอกเป็น 3 ลานเสมอ โดยลานชั้นนอกมักอยู่ด้านล่างสุดของเชิงเขา แทนโลกบาดาล ลานชั้นกลาง ส่วนส่วนกลางของเชิงเขาหมายถึงโลกมนุษย์ และลานชั้นนอกหมายถึงสวรรค์อันเป็นที่ประทับของเทพเจ้าอยู่ด้านบนสุดของเนินเขา การที่ความสูงของแต่ละพื้นที่ที่แตกต่างกัน ย่อมทำให้เกิดการสร้าง “พนักขั้นบันได” คั่นอยู่ในระหว่างลานแต่ละชั้น โดยช่างบาหลีได้ตกแต่งดังกล่าวด้วยประติมากรรมคั่นยู่เป็นระยะๆ ที่ด้านบนสุดปรากฏโคปุระซึ่งแสดถึงการกั้นพื้นที่ของจักรวาลในแต่ละชั้นและป้องกันสิ่งชั่วร้าย |
ยุค | ประวัติศาสตร์ |
สมัย/รูปแบบศิลปะ | บาหลี |
อายุ | พุทธศตวรรษที่ 20-25 |
ศาสนา | พราหมณ์-ฮินดู |
รูปแบบลิขสิทธิ์ | Attribution-NonCommercial-NoDerivs (CC BY-NC-ND) |
---|---|
เจ้าของสิทธิ์ | ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) |
วันที่จัดทำข้อมูล | 2015-02-00 |
ผู้จัดทำข้อมูล | เชษฐ์ ติงสัญชลี |